Thursday, November 14, 2013
Chulalongkorn University had a seminar on Preah Vihear Temple case that International Court of Justice concludes that the first operative paragraph of the 1962 Judgment determined that Cambodia had sovereignty over the whole territory of the promontory of Preah Vihear, as define in paragraph 98 of the present Judgment, and that, in consequence, the second operative paragraph required Thailand to withdraw from that territory the Thai military or police forces, or other guards or speakers, that were stationed there.
Wednesday, November 13, 2013
The ICJ
The International Court of Justice
The International Court of Justice yesterday unanimously declared that its 1962 judgment awarding the Preah Vihear temple to Cambodia also gave the Kingdom sovereignty over the promontory that the temple sits on.
But while the announcement was initially greeted as a resounding victory by some in Cambodia, the world court took pains to specify that the 1962 decision dealt with only a “small area” surrounding the temple.
The decision leaves unanswered the question of sovereignty over the remainder of the 4.6-square-kilometre area forming the heart of the long-running dispute between Cambodia and Thailand.
The International Court of Justice yesterday unanimously declared that its 1962 judgment awarding the Preah Vihear temple to Cambodia also gave the Kingdom sovereignty over the promontory that the temple sits on.
But while the announcement was initially greeted as a resounding victory by some in Cambodia, the world court took pains to specify that the 1962 decision dealt with only a “small area” surrounding the temple.
The decision leaves unanswered the question of sovereignty over the remainder of the 4.6-square-kilometre area forming the heart of the long-running dispute between Cambodia and Thailand.
Friday, October 4, 2013
บทความที่น่าอ่าน
''ภาวะผู้นำกับการสร้างสันติภาพโลก''
พระเทพโสภณ (2545)
เมื่อ สองปีที่แล้ว ผู้นำศาสนาและจิตวิญญาณของโลก ได้เดินไปถึงก้าวประวัติศาสตร์ในการทำงานร่วมกันเพื่อ สันติภาพโลก โดยมาพบปะกันในคราวประชุม สุดยอดเพื่อ สันติภาพโลกใน สหัสวรรษ ณ องค์การ หประชาชาติ มหานครนิวยอร์ก
ความสำเร็จของการประชุม สุดยอดเพิ่มความคาดหวังสูงในหมู่ประชาคมทางศาสนา ผลก็คือว่าผู้นำศาสนาต้องการมีบทบาทสำคัญในการเสริมสร้าง สันติภาพโลก เหนือสิ่งอื่นใดยังได้แสดงให้เห็นว่า ผู้นำศาสนา สามารถทำงานร่วมกันได้ ทั้ง ๆ ที่มีความต่างกัน การประชุม สุดยอดผู้นำเพื่อ สันติภาพโลกใน สหัสวรรษ เป็นตัวอย่างแสดงถึงความเหมือนในความต่าง ที่เป็นเชิงรูปธรรม เราจำเป็นต้องมีเวทีร่วมกันเพื่อพิทักษ์รักษาความเหมือนกัน เวทีที่ผู้นำศาสนาจะพบปะและทำงานร่วมกันได้ ดังนั้น คณะกรรมการ สภา จึงตัดสินใจก่อตั้ง สภาผู้นำศาสนาโลกขึ้น ในฐานะเป็นผลลัพธ์ตรงของการประชุม สุดยอดผู้นำเพื่อ สันติภาพโลกใน สหัสวรรษ และข้าพเจ้ามีความยินดีที่จะรายงานว่าสิ่งนี้เองเป็นผลให้เรา สามารถจัดการประชุม สุดยอดผู้นำศาสนาเป็นครั้งที่ ๒ ในกรุงเทพฯ เมื่อเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา
การประชุม ณ กรุงเจนีวาในวันนี้ ถือว่าเป็นการประชุมครั้งแรกในความคิดริเริ่มของ สตรีที่เป็นผู้นำทางศาสนา และจิตวิญญาณในการสร้างสันติภาพทั่วโลก และถือว่าเป็นผลลัพธ์ตรงอย่างหนึ่งของการประชุมสุดยอดผู้นำสันติภาพโลกใน สหัสวรรษอีกด้วย
เราจึงได้ผล ๒ ประการด้วยกัน คือ ๑) มี สภาผู้นำศาสนาโลก และ ๒) มีความคิดริเริ่มของ สตรีที่เป็นผู้นำทางศาสนาและจิตวิญญาณในการ สร้าง สันติภาพทั่วโลก เหล่านี้เป็นผลมาจากการประชุม สุดยอดผู้นำเพื่อ สันติภาพโลกใน สหัสวรรษ ซึ่งข้าพเจ้าคาดหวังว่า จะเกิดเป็นผลลัพธ์ และเป็นผลผลิตอีกประการหนึ่ง จากการประชุมสุดยอดผู้นำเพื่อ สันติภาพโลกนี้
ปัญหาปัจจุบันนี้ ก็คือว่าเรา สามารถทำงานร่วมกันได้ไหม เราต้องไม่แยกทางกัน คือต้องทำงานให้มีประ ิทธิผล เพราะว่า สันติภาพต้องการความ สามัคคีกัน ปราศจากความ สามัคคีแล้ว เราเสี่ยงที่จะกลายเป็นคนอ่อนแอลง ๆ และในที่ สุดก็ยอมพ่ายแพ้คู่ต่อสู้ที่ใช้กลยุทธ์ "แยกและปกครอง" จึงเป็นสิ่งจำเป็นที่ต้องมีความคิดริเริ่มเพื่อ สันติภาพทั่วโลกและให้เกิดมี สภาผู้นำศาสนาโลกทำงานร่วมกัน เราต้องออกแบบยุทธศาสตร์ในการ สร้างความสัมพันธ์ใกล้ชิดระหว่างผู้นำเอง ข้อนี้จะเป็นไปได้บนพื้นฐานของการให้ความเคารพและไว้วางใจซึ่งกันและกัน ผู้นำศาสนาทั้งเพศหญิงและชาย ต้องเคารพความพิเศษของกันและกัน และต้องเชื่อถือความจริงใจของอีกฝ่ายหนึ่ง
ความเชื่อถือและไว้วางใจกันนี่เอง ที่ผู้นำศาสนามาประชุมพร้อมกันที่กรุงเทพฯ และลงนามร่วมกันในกฎบัตร ก่อตั้ง สภาผู้นำศาสนาโลกในฐานะเป็นองค์กรระหว่างประเทศ เป็นเหตุให้ผู้นำศาสนาทั้งหมด สามารถทำงานร่วมกันและช่วยเหลือองค์การ สหประชาชาติในการ สร้าง สันติภาพได้
ในคราวประชุมที่กรุงเทพฯ เรา สร้างความชัดเจนว่า สภาผู้นำศาสนาโลกจะรักษาความแตกต่างทางด้านศาสนาไว้ได้ เราจะเคารพความเป็นอิสระของศาสนาที่เป็น สมาชิก สภาผู้นำศาสนาโลกนี้จะต้องไม่กลายเป็น สภาคลั่งศาสนา จะไม่ก้าวก่ายการตีความทางด้านเทววิทยาของศาสนาใด ๆ แต่ละศาสนาจะต้องรักษาเอกลักษณ์โดดเด่นของตนเอง สิ่งนี้คือความเหมือนในความต่าง และเป็นนโยบายข้อนี้เองที่จะเป็นรากฐานให้เรามีความเคารพซึ่งกันและกัน
เรา สร้างความไว้วางใจในระหว่างผู้นำศาสนาด้วยกัน โดยให้คำมั่น สัญญาว่า สภาผู้นำศาสนาโลกนี้มีนโยบายที่จะไม่ให้มีการเปลี่ยนศาสนา จะไม่ส่งเสริมกิจการของศาสนาหนึ่งโดยย่ำยีอีกศาสนาอื่น ความดีทั่วไปที่เป็นจุดหมายของเรา ไม่มีอะไรอื่นใดนอกจาก สันติภาพโลก
เพื่อก่อให้เกิด สันติภาพในโลก สภาผู้นำศาสนาโลกจะต้องทำงานใกล้ชิดกันกับองค์การ สหประชาชาติ และให้คำมั่นจะที่ สนับสนุนองค์การสหประชาชาติในการพิทักษ์รักษา สันติภาพโลก ตรงนี้จึงขึ้นอยู่กับองค์การสหประชาชาติว่าจะยอมรับความ สำคัญของ สภาผู้นำศาสนาโลก และขึ้นอยู่กับองค์การสหประชาชาติและ สภาผู้นำศาสนาโลกด้วยว่าจะยอมรับบทบาท สตรีในการสร้างสันติภาพ
ในกระบวนการ สร้าง สันติภาพนี้ มีขั้นตอน ๓ ประการ คือ ก่อนที่ความขัดแย้งจะเกิดขึ้น เราต้องพยายามป้องกันไม่ให้เกิดขึ้น เมื่อมีความขัดแย้งเกิดขึ้นแล้ว เราต้องพยายามร่วมกันแก้ไข และ ภายหลังที่ความขัดแย้งสิ้นสุดลงแล้วเราจำเป็นต้องรักษาเยียวยา และประนีประนอมกัน
ในการป้องกันความขัดแย้ง ผู้นำศาสนาต้องกำจัดความอคติทางด้านศาสนาของศาสนิกเราเอง เราต้อง สั่ง สอนให้เขาพัฒนาความเคารพและความไว้วางใจให้แก่ศาสนิกอื่นด้วย และต้องสอนให้แผ่ความรักไปยัง สรรพสัตว์ ยกตัวอย่างเช่น ชาวพุทธต้องปฏิบัติธรรมด้วยการแผ่เมตตา สวดคำบาลีดังต่อไปนี้
สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น จงเป็น สุข ๆ เถิด อย่าได้มีเวรแก่กันและกันเลย
สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น จงเป็น สุข ๆ เถิด อย่าได้มีอาฆาตพยาบาทซึ่งกันและกันเลย
สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น จงเป็น สุข ๆ เถิด อย่าได้มีความทุกข์กายทุกข์ใจเลย
สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น จงเป็น สุข ๆ เถิด จงมีความ สุขกาย สุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้นเถิด
การปฏิบัติธรรมด้วยการแผ่เมตตา ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาเกี่ยวกับ สันติภาพในพระพุทธศาสนา
ในการป้องกันความขัดแย้งทางด้านศาสนา สภาผู้นำศาสนาโลก ขอคัดค้าน สงครามศาสนา นั่นคือจะต้องไม่มี สงครามในนามของศาสนาอีกต่อไป ด้วยวัตถุประสงค์ข้อนี้เอง ที่ สภาผู้นำศาสนาโลก จะตั้งคณะกรรมการเพื่อดูแลเรื่องที่มีอ่อนไหวมาก และจำกัดขอบข่ายของความทะเลาะเบาะแว้งทางด้านศาสนา ก่อนที่จะขยายไปสู่การต่อสู้กัน
ในช่วงเวลาแห่งความขัดแย้งทางด้านศาสนา ผู้นำศาสนาจะต้องเข้าขัดขวางโดยให้ฝ่ายที่มีความขัดแย้งกันนั้นมานั่งเจรจาตกลงกัน ช่วยเหลือองค์การ สหประชาชาติในกระบวนการดังกล่าวนี้ ผู้นำศาสนา สามารถเป็นผู้ทำการปรองดองได้ดีมากกว่านักการเมือง เพราะว่าผู้นำศาสนาได้รับความเชื่อถือจากศาสนิกที่ขัดแย้งกัน
เมื่อความขัดแย้งสิ้นสุดลงแล้ว ผู้นำศาสนาต้องช่วยเหลือผู้ประ บทุกข์ยากอันเกิดจากความขัดแย้งกัน โดยรักษาเยียวยาทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ เราต้องช่วยเหลือรักษาเยียวยาร่างกาย โดยช่วยบริจาคและให้บริการช่วยเหลือทาง สังคม เราต้องช่วยอำนวยความ สะดวกรักษาเยียวยาจิตใจ โดยอาศัยการ สวดมนต์ การปฏิบัติธรรม และ สอนเรื่องการให้อภัยกัน
สตรีที่เป็นผู้นำศาสนามีบทบาท สำคัญในการ สร้าง สันติภาพทั้ง ๓ ขั้นตอนนั้นด้วย สภาผู้นำศาสนาโลกยอมรับความสำคัญของ สตรี จึงได้รวมเอา สตรีที่เป็นผู้นำศาสนาให้อยู่ในระดับผู้นำแนวหน้า และ สภาผู้นำศาสนาโลกจะ สร้างคณะกรรมการที่เป็นสตรีเพื่อวัตถุประสงค์ข้อนี้อย่างแน่นอน
เรามีงานที่ต้องร่วมทำกันอีกมากมายอย่างเห็นได้ชัด แต่จะไม่มีการแข่งขันกันเอง ตราบใดที่เราผู้นำศาสนาทั้งบุรุษและ สตรียังต้องแข่งขันระหว่างกันเอง ตราบนั้นเราก็เหมือนกับไก่ในเล้าเดียวกัน ที่ต่อสู้กันเองเพื่อจะเป็นผู้นำ จนถึงวันที่มันถูกเชือดเป็นอาหาร โดยที่แท้แล้ว คู่แข่งขันแท้จริงของศาสนาใดก็ตาม ไม่ใช่ศาสนาอื่น แต่เป็นลัทธิความไม่เชื่อหลักความจริงของศาสนาตนเอง ลัทธิวัตถุนิยมและบริโภคนิยม ลัทธิเหล่านี้ต่างหากที่นำพาผู้คนห่างไกลจากคำ สอนของศาสนา
ตามนัยแห่งพุทธทัศนะเรื่องปฏิจจสมุปบาท ทุกสิ่งทุกอย่างล้วนขึ้นต่อกันและกัน ไม่มีสิ่งใดในโลกนี้ที่ สามารถอยู่เป็นอิสระได้ตามลำพัง เปรียบเ มือนองค์ประกอบของอะตอม คือ อีเลกตรอน นิวตรอน และโปรตรอน เกิดขึ้นเป็นอิสระต่อกัน แต่บุรุษและ สตรีต้องอิงอาศัยกันและกัน เป็นส่วนประกอบ ๒ ่วนของสิ่ง สากลที่ สมบูรณ์ การพัฒนาเพียงส่วนเดียวโดยละเลยอีกส่วนหนึ่งนั้น เห็นว่าเป็นทัศนะที่ สุดโต่ง พระพุทธเจ้าตรัสสอนเราให้เดินทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) ซึ่งหมายถึง สิ่งสากลที่รวมเอาทุก ๆส่วนไว้
เพราะฉะนั้น บุรุษและสตรีที่เป็นผู้นำศาสนาต้องเดินบนทาง สายกลางไปด้วยกัน สู่เป้าหมายเดียวกันคือ สันติภาพของโลกทั้งหมด เรายังมีหนทางไกลที่จะเดินไปด้วยกัน ในฐานะเป็นประธานร่วมของคณะกรรมการ สภาผู้นำศาสนาโลก ข้าพเจ้าขอให้ สัญญาที่จะ สนับสนุนและให้ความร่วมมือเกี่ยวกับความคิดริเริ่มของ สตรีที่เป็นผู้นำทางศาสนาและจิตวิญญาณในการ สร้าง สันติภาพทั่วโลก และขออำนวยอวยพรให้ท่านทั้งหลายจงประสบความ ำเร็จทุกประการ
(ที่มา: กล่าวสุนทรพจน์ในการประชุมความคิดริเริ่มของสตรีผู้นำศาสนาและจิตวิญญาณ เพื่อสันติภาพทั่วโลก ณ กรุงเจนีวา ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ตุลาคม ๒๕๔๕ )
Thursday, September 26, 2013
រឿងឆ្មា និង កណ្តុរ
បន្ទាប់ពីវគ្គទី ១ នៃរឿងឆ្មា & កណ្តុរ (Tom & Jerry) បានបញ្ចប់ទៅដោយឆ្មាឈប់ចាំដេញវ៉ៃកណ្តុរ ជាមួយនឹងកូនខ្ទះឆា ដែលឆ្មាតែងតែចាំនៅមាត់រន្ធ ឲ្យតែកណ្តុរហ៊ានចេញពីរន្ធមក ឆ្មាដឹងតែពីចាប់ដាក់ក្នុងទ្រុងសារិកាហើយ គឺឆ្មាបើកឲ្យកណ្តុរចេញពីរន្ធមកក្រៅ ដើម្បីប្រឡែងគ្នាលេងបន្លំមែនទៀត ព្រោះខ្វះដៃគូ បើឆ្មាលេងតែម្នាក់ឯងទៅ ញាតិញោមមើលទៅវាមិនសម ដូចជា រាងលើគោកពេក។
តែនៅពេលបើកឲ្យកណ្តុរចេញមកលេងម្តងនេះ ធ្វើឲ្យឆ្មាភ័យញ័រលស់ព្រលឹងឡើងបះរោមច្រូង ដែលមិននឹកស្មានដល់ថា ឡើងកូដដល់ថ្នាក់ហ្នឹង ឡើងចង់យ៉ាប់រៀងៗខ្លួន មិនដូចកាលពីលេងល្បែងមុនៗ ឆ្មាតែងតែមើលឃើញកណ្តុរម្តងៗ ស៊ីផុយនោះ ហើយជាទូទៅ ឆ្មា និងកណ្តុរ តែងតែគិតប្រើល្បិចយ៉ាងម៉េចយកតែឈ្នះរៀងខ្លួនដូចរាល់តែដង ម្លោះហើយគ្មានអ្វីក្រៅតែពីដាក់អន្ទាក់រៀងៗខ្លួន ព្រោះបើឆ្មាបើកភ្នែកឡើងដឹងតែពីវ៉ៃកណ្តុរនោះ គឺត្រូវបានគេមើលឃើញវាកាន់តែអាក្រក់មើលពេក ជាសត្វធំហើយគ្មានចេះអី គិតតែចាំតែវ៉ៃសត្វតូចៗជាង។
អ៊ីចឹងហើយបានជាឆ្មាបានខិតខំធ្វើយ៉ាងណា ឲ្យគេមើលទៅឃើញខ្លួនត្រឹមត្រូវ គួរសមនឹងគេដែរ តាមរយៈខ្ចីដៃសត្វដទៃៗទៀត យកមកប្រើ គឺឲ្យតែប្រើបានគឺប្រើហើយ ដើម្បីប្រយោជន៍ខ្លួនឯងយកឈ្នះកណ្តុរ នៅពេលឆ្មាជួបការលំបាកទាល់ច្រកម្តងម្កាល គឺធ្វើកាយវិការទន់ភ្លន់គួរឲ្យអាណិត ធ្វើយ៉ាងណា ឲ្យផុតពីទុក្ខភ័យមួយគ្រាបន្តិចសិនទៅ ហើយចប់ហើយ នៅពេលបានដោះស្រាយហើយ ចាំមើលឆ្មាចាប់ផ្តើមឡើងចាងលេងខ្លួនគិតតែពីរករឿងនេះ នោះដើម្បីរកលេសនេះនោះ ទម្លាក់កំហុសលើកណ្តុរ ហើយដេញវ៉ៃកណ្តុររត់ប្រផាប់ប្រភីង ស្រួលមិនស្រួលរត់ចូលរន្ធដូចលើកមុនៗទៀត។
ឯកណ្តុរវិញ ឲ្យតែឆ្មាដេញវ៉ៃ ដឹងតែពីដាក់មេផាយហើយ តែនៅពេលដែលដេញទៅជួបជាមួយសត្វណាដែលធំជាងឆ្មាដូចជាខ្លា ខ្លាឃ្មុំ ឬក៏មនុស្សក្តី ដែលអាចបង្ក្រាបឆ្មាបាន គឺកណ្តុរក៏ខ្ចីដៃគេប្រើដែរ ដើម្បីវ៉ៃឆ្មានោះវិញ ហើយតាំងឌឺដងដាក់ឆ្មាវិញម្តង។ តែជួនកាលក៏ឃើញឆ្មា និងកណ្តុរ ត្រូវរ៉ូវគ្នាបាយជាមួយគ្នា ហើយរាំលេងសប្បាយជាមួយគ្នាដែរ គឺឆ្មាជាអ្នកលេងភ្លេង ឯកណ្តុរជាអ្នករាំ តែក៏ជាពេលរកល្បិចពិសពុលដាក់អន្ទាក់ទៅវិញទៅមកផងដែរ។
ក្រឡេកមើលនយោបាយស្រុកខ្មែរបច្ចុប្បន្ននេះវិញ ក៏មិនខុសពីរឿងឆ្មាកណ្តុរដែរ ឥឡូវចូលដល់វគ្គទី ២ ហើយ។ បន្ទាប់ពីបោះឆ្នោតសកល និងប្រកាសលទ្ធផលរួចហើយ ដែលគណបក្សប្រជាជនទទួលបាន៦៨អាសនៈ និងគណបក្សសង្គ្រោះជាតិបាន៥៥ អាសនៈ គឺតែងតែជាប់គាំងស្តូកដូចរាល់ដងអ៊ីចឹង។ បើទោះបីជាបក្សប្រឆាំងម្ខាងដាក់អន្ទាក់តាមបែបធ្វើបាតុកម្មតវ៉ា អហិង្សាក៏ដោយ ឯបក្សកាន់អំណាចម្ខាងទៀត ក៏ដាក់អន្ទាក់បែបបន្លាលួស ទប់ដែរ ហើយមានការចរចារវាងបក្សឈ្នះឆ្នោតទាំង ២ បន្តបន្ទាប់កាលពីសប្តាហ៍មុន តែនៅមិនឃើញមានលទ្ធផលជាផ្លែផ្កានៅឡើយទេ។
តែខុសពីលើកមុនៗ ដែលព្រះមហាក្សត្រ តែងតែទៅពិនិត្យសុខភាព ឬក៏មានធុរៈនៅក្រៅប្រទេស ចំកាលៈទេសៈបែបនេះ តែលើកនេះ ព្រះករុណគង់នៅក្នុងប្រទេសដើម្បីសម្របសម្រួលដល់គណបក្ស នយោបាយដែលអះអាងថា ឈ្នះឆ្នោតទាំង២ដូចគ្នានោះ ហើយព្រះករុណាបានប្រកាសឲ្យគណបក្សទាំង ២ ឲ្យចូលរួមប្រជុំសភាអាណត្តិទី៥ លើកដំបូងនៅថ្ងៃនេះ។
តែបក្ស សង្គ្រោះជាតិបានធ្វើសន្និសីទកាសែត កាលពីចុងសប្តាហ៍មុនថា នឹងមិនចូលរួមសម័យប្រជុំសភាថ្ងៃដំបូងទី ២៣ ខែកញ្ញា ឆ្នាំ ២០១៣ នេះទេ ហើយបានចោទប្រកាន់បក្សប្រជាជនថា បានបង្ខំព្រះមហាក្សត្រ ហើយបានបន្តទៀតថា បើតាមមាត្រា ៨៦ នៃច្បាប់រដ្ឋធម្មនុញ្ញ គឺមានរយៈពេល ៦០ថ្ងៃ បន្ទាប់ពីពេលបោះឆ្នោតមានន័យថា បន្ទាប់ពីប្រកាសលទ្ធផលមិនមែន បន្ទាប់ពីថ្ងៃបោះឆ្នោតទេ ដូច្នេះ សល់ពេលចរចាជាង១ ខែទៀតដែរ ហើយបក្សសង្គ្រោះជាតិក៏បន្តការចរចា ដោយគិតពីលទ្ធផលឆ្នោតឈ្នះដូចគ្នា ដើម្បីប្រយោជន៍ជាតិជាធំ និងបានដាក់លិខិតស្នើសុំព្រះមហាក្សត្រពន្យារពេលប្រជុំសភាលើក ដំបូងនេះរហូតដល់ថ្ងៃទី ៧ វិច្ឆិកា។ តែបក្សប្រជាជនអះអាងថា មិនខ្វល់ទេ គឺដឹងតែពីដង្ហែតាមព្រះករុណា ចូលរួមប្រជុំសភាអាណត្តិទី៥នៅថ្ងៃដំបូងហើយ។
សម្រាប់បក្សសង្គ្រោះជាតិចំពោះការប្រជុំលើកដំបូងនេះ កំពុងគិតថា តើដើរលើផ្លូវណាដែលត្រឹមត្រូវសម្រាប់ខ្លួន បើម្ខាងព្រះមហាក្សត្រ និងម្ខាងទៀត គឺឆន្ទៈប្រជាពលរដ្ឋ ដែលចង់ប្តូរមិនឲ្យចូលរួមប្រជុំនោះទេ ព្រោះបញ្ហាភាពមិនប្រក្រតីនៃការបោះឆ្នោតមិនទាន់បានដោះស្រាយចប់ សព្វគ្រប់នៅឡើយផង។ តែបើបក្សប្រឆាំងមិនចូលរួមប្រជុំ តាមការអញ្ជើញរបស់ព្រះមហាក្សត្រ តើមានអ្វីកើតមានឡើង និងប្រែប្រួលយ៉ាងដូចម្តេចដែរនៅថ្ងៃនេះ?
ផ្អែកលើកំណត់ហេតុ ជាផ្លូវការនៃការបកស្រាយបំភ្លឺរបស់ក្រុមប្រឹក្សាធម្មនុញ្ញ ទៅតំណាងរាស្ត្រ កាលពីថ្ងៃទី ២២ ខែកក្កដា ឆ្នាំ ២០០៣ ចំពោះស្ថានភាពខាងលើនេះ ក្រុមប្រឹក្សាធម្មនុញ្ញបានបកស្រាយបំភ្លឺយ៉ាងច្បាស់ជាលាយ លក្ខណ៍អក្សរផងលើខ្លឹមសារវាក្យខណ្ឌទី១ មាត្រា ៧៦ និងមាត្រាទី ៩៥ នៃច្បាប់ធម្មនុញ្ញ៖ «វាក្យខណ្ឌទី១ មាត្រា ៧៦ នៃច្បាប់រដ្ឋធម្មនុញ្ញចែងថា៖«រដ្ឋសភាមានសមាជិកជាតំណាងរាស្ត្រ យ៉ាងតិច ១២០ រូប។ ត្រង់នេះ មានន័យថា យ៉ាងតិចណាស់ត្រូវមានសមាជិកជាតំណាងរាស្ត្រចំនួន១២០ រូប ទើបអាចបង្កើតរដ្ឋសភាក្នុងនីតិកាលនីមួយៗបាន។ ច្បាប់បោះឆ្នោត មិនអាចកំណត់ចំនួនតំណាងរាស្ត្រតិចជាង ១២០ រូបបានទេ។
វាក្យខណ្ឌទី ១ នេះ ជាលក្ខខណ្ឌចាំបាច់សម្រាប់ការបង្កើតរដ្ឋសភា ប៉ុន្តែមិនមែនសម្រាប់ដំណើរការរបស់រដ្ឋសភាទេ។ នៅពេលបោះឆ្នោតហើយ លទ្ធផលត្រូវឲ្យបានតំណាងរាស្ត្រចាប់ពី ១២០ រូប ឡើងទៅ ទៅតាមការកំណត់នៃច្បាប់បោះឆ្នោតទើបអាចបង្កើតរដ្ឋសភានីតិកាល ថ្មីមួយបាន ដោយគោរពទៅតាមនីតិវិធីដែល នយោបាយជាចំាបាច់ត្រូវ ស្នើជ្រើសតាំងសមាជិកថ្មីជំនួស ទើបស្របនឹងមាត្រា៩៥ នៃរដ្ឋធម្មនុញ្ញដែលបានចែងច្បាស់ថា(ត្រូវចាត់ការជ្រើសតាំងជំនួស)»។ អ៊ីចឹង បើតាមការបកស្រាយ របស់ក្រុមប្រឹក្សាធម្មនុញ្ញនេះ គឺទាល់តែសមាជិកសភា ដែលជាប់ឆ្នោតយ៉ាងតិច១២០ រូប ក្នុងចំណោមសមាជិកសរុប ១២៣ រូប បានអាចបង្កើតរដ្ឋសភានីតិ កាលនីមួយៗបាន។ បើបក្សសង្គ្រោះជាតិមិនចូលរួមប្រជុំថ្ងៃដំបូងនេះទេ គឺរដ្ឋសភាចេះតែប្រជុំបានហើយតែមិនអាចបង្កើតរដ្ឋសភានីតិ កាលទី ៥ ឲ្យបានពេញលេញតាមផ្លូវច្បាប់បានទេ។ បើបង្កើតរដ្ឋសភាមិនបានផង រឿងអីទៅបង្កើតរដ្ឋាភិបាលស្រប ច្បាប់បាន។ ក្នុងករណីនេះ ថាតើបក្សប្រជាជន និងបក្សសង្គ្រោះជាតិ មានស្នៀតអ្វីទៀត ដើម្បីទម្លុះភាពទាល់ច្រកនេះបាន? បើបក្សនីមួយៗ សុទ្ធតែចងក្រឡាចាក់ស្រែះ ដូចគ្នាដោយផ្អែកទៅលើច្បាប់ផង និងដាក់អន្ទាក់គ្នាទៅវិញទៅមកដូចរឿងឆ្មា-កណ្តុរយ៉ាងនេះ?
ជា សរុបសេចក្ដីមក បើក្នុងន័យអភិវឌ្ឍន៍វិញ បើថ្នាក់ដឹកនាំនយោបាយស្រុកខ្មែរ នៅតែដើរតាមគន្លងរឿងឆ្មា និងកណ្តុរនេះវិញ គឺមិនមានការអភិវឌ្ឍបានល្អប្រសើរទេ ព្រោះឆ្មា-កណ្តុរគិតតែពីរឿងដាក់អន្ទាក់គ្នាជាជាងរួមគ្នា អភិវឌ្ឍ។ ចំាមើលនៅថ្ងៃនេះមើលថា តើមានអ្វីប្រែប្រួលយ៉ាងដូចម្តេច ហើយអ្វីៗគួរតែនៅ ឬមួយគួរតែទៅ?
សារពីលោក បាង គី មួន
วันวิสาขบูชา วันสำคัญสากลโลกเป็นการเฉลิมฉลองสำหรับชาวพุทธทั่วโลก และเป็นโอกาสหนึ่งสำหรับสมาชิกทั้งหมดแห่งชุมชนสากลโลกที่จะได้รับประโยชน์จากประเพณีอันมั่งคั่งอุดมสมบูรณ์ของพวกเขา
พิธีตามธรรมเนียมปฏิบัติในปีนี้ ซึ่งประจวบกับเวลาที่มีการแพร่หลายอย่างกว้างขวางของการปะทะต่อสู้กันและความทุกข์ยากขัดสน เป็นโอกาสที่จะสำรวจตรวจสอบดูว่าคำสอนต่างๆ ทางพุทธจะกระตุ้นเตือนเราได้อย่างไรในการสนองตอบต่อความท้าทายต่างๆ ที่เหนือกว่า
การรับหน้ากับปัญหายุ่งยากต่างๆ ที่โลกเรากำลังเผชิญอยู่นี้ ประจวบเหมาะกับพระพุทธศาสนาเป็นอย่างยิ่ง พระพุทธเจ้า เมื่อครั้งยังเป็นเจ้าชายทรงพระเยาว์ ทรงละทิ้งความปลอดภัยในพระราชวังของพระองค์เพื่อทรงค้นหาความจริงแห่งทุกข์ ๔ ประการ คือ การเกิด ความเจ็บไข้ ความแก่ชรา และ ความตาย
ในเมื่อความจริงอันเจ็บปวดไม่สามารถจะหลีกเลี่ยงได้ พระพุทธศาสนาเสนอความเข้าใจต่างๆ อย่างถ่องแท้ภายในเพื่อจะเผชิญหน้ากับความจริงนี้ ประวัติศาสตร์ของมันเต็มเปี่ยมไปด้วยตัวอย่างต่างๆ ที่จุดประกายและส่งผ่านเป็นพลังแห่งพุทธปรัชญา
ตำนานพระเจ้าอโศก ผู้พิชิตและผู้ครองราชย์ที่โหดเหี้ยมในอินเดียในช่วง ๓ ศตวรรษหลังพระพุทธเจ้าปรินิพพาน พลิกผันสู่พระพุทธศาสนาในที่สุดโดยการสละความรุนแรงทิ้งและโอบอุ้มสันติภาพไว้แทนที่
คุณค่าในหลักการที่ปรับเปลี่ยนของพระเจ้าอโศก รวมถึงสิทธิมนุษยชน การปกครองในระบอบประชาธิปไตย และการเคารพในศักดิ์ศรีของชีวิต เป็นเรื่องสามัญร่วมกันสำหรับศาสนาที่ยิ่งใหญ่ทั้งมวล ความจริงที่ว่าพระเจ้าอโศกสามารถที่จะหันมาโอบอุ้มสิ่งเหล่านี้ไว้ภายหลังสงครามอันโหดเหี้ยมในช่วงเวลาหลายปีเสนอข้อพิสูจน์ว่ากุศลเจตนาในปัจเจกบุคคลทั้งหลายสามารถหยุดการแพร่กระจายแห่งความทุกข์ความหายนะได้
ขณะนี้เป็นเวลาที่ยิ่งกว่าเวลาใดๆ ที่ผ่านมาที่เราต้องการจิตวิญญาณแห่งการปลอดความรุนแรงที่จะช่วยจุดประกายสันติภาพและหยุดยั้งความขัดแย้ง
ข้าพเจ้าขอส่งความปรารถนาดีมายังผู้ที่ศรัทธาในการเฉลิมฉลองวันวิสาขบูชา วันสำคัญสากลโลก และความหวังอย่างจริงใจอย่างสุดซึ้งของข้าพเจ้าว่าเราทั้งหมดจะร่วมสร้างพลังแห่งจิตวิญญาณอุดมคติในการร่วมสร้างมติที่แข็งแกร่งเพื่อปรับปรุงแก้ไขโลกของเราให้ดีขึ้น
บัน คิ-มูน
เลขาธิการสหประชาชาติ
Subscribe to:
Posts (Atom)